"มะเร็งปากมดลูก"
ภัยเงียบที่อันตรายมาก !!!
ประจำเดือนมาผิดปกติ
ตกขาวมีเลือดปน
ตรวจพบเชื้อ HPV
เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์
ปวดท้องน้อยเรื้อรัง
ฯลฯ
ทางเลือกใหม่สำหรับผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก
สารสกัดเซซามิน (Sesamin)
- ช่วยยับยั้งการโตขึ้นของเซลล์ผิดปกติ
- ป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
- ฟื้นฟูเซลล์ที่โดนทำลายจากการรับการรักษา
คลิกปุ่มด้านล่าง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญฟรี
คุณมีอาการแบบนี้อยู่หรือไม่ ?
- ตกขาวมีเลือดปน
- ประจำเดือนมาไม่ปกติ
- ปวดท้องน้อย
- ตรวจพบเชื้อ HPV
- เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์
- ช่องคลอดมีเลือดออก
- น้ำหนักลด ไม่มีสาเหตุ
- ฉี่บ่อย
- มีประจำเดือนนอกรอบเดือน
- ปัสสาวะ/อุจจาระ มีเลือดปน
- อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
- เบื่ออาหาร
- ซูบผอม
หากคุณกำลังประสบกับปัญหาเหล่านี้
- ร่างกายไม่พร้อมรับการผ่าตัด
- หมอให้ตัดมดลูกทิ้ง แต่ไม่อยากตัด
- ร่างกายอ่อนแอหนัก ไม่สามารถรับคีโมได้
- แพ้คีโม อ่อนเพลีย ผมร่วง อาเจียน
- เบื่ออาหาร ท้องเสีย เม็ดเลือดขาวตก
- ไม่พร้อมสำหรับให้คีโม
- กลัวการผ่าตัด คีโม ฉายแสง
- ก้อนมะเร็งขนาดใหญ่ ระยะลุกลาม
- เม็ดเลือดขาวตก จนไม่สามารถให้คีโมได้
- เสี่ยงต่อการผ่าตัด เพราะอายุเยอะ
- รักษามานาน แต่ก็ยังไม่หาย
- เปลี่ยนยาพุ่งเป้า ยาเคมีหลายตัว ก็ไม่หาย
- รักษาหายแล้ว แต่กลับมาเป็นซ้ำอีกครั้ง
- ลุกลามไปอวัยวะอื่นๆ
- ระยะแพร่กระจายไม่มีทางรักษา
- รักษาแบบประคองอาการ รอเวลา !
ผลลัพธ์ผู้ที่ทานอาหารเสริมเซซามิน
ค่ามะเร็งลด ทำคีโมต่อได้
*ผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับร่างกายแต่ละบุคคล*
แม่เป็นมะเร็งปากมดลูก เชื่อแล้วว่าดีจริง
*ผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับร่างกายแต่ละบุคคล*
ตกขาวปนเลือด หายแล้ว
*ผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับร่างกายแต่ละบุคคล*
ผลเลือดดี ไม่แพ้คีโม
*ผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับร่างกายแต่ละบุคคล*
คลิกปุ่มด้านล่าง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญฟรี
สารสกัดเซซามิน ที่ได้จากงาดำ (ไม่ใช่น้ำมันงา)
ผลงานนักวิจัยไทย คณะแพทยศาสตร์
งานวิจัยพบสารออกฤทธิ์เป็นยา
นำมาเป็นอาหารเสริมชื่อ สารเซซามิน (Sesamin)
เป็นสารสกัดบริสุทธิ์ที่สกัดได้จากงาดำ
ใช้กับผู้ป่วยมะเร็งมดลูกปากได้ทุกระยะ
ซึ่งหลักการทำงานของเซซามิน คือ
เซซามินจะไปปิดกั้นการสร้างเส้นเลือดใหม่
ที่จะไปหล่อเลี้ยงเซลล์ผิดปกติ
ทำให้เซลล์นั้นฝ่อและตายไปในที่สุด
สารสกัดเซซามินจัดอยู่ในกลุ่มของ “โภชนบำบัด หรือ Nutraceuticals“
ซึ่งหมายถึงสารอาหารที่ออกฤทธิ์เป็นยาได้
นั่นหมายความว่า การทานผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเซซามินก็เหมือนกับการทานอาหาร จึงมั่นใจได้ในเรื่องของความปลอดภัย
สารสกัดงาดำบริสุทธิ์ เป็นสารอาหาร ไม่ใช่สมุนไพร ผู้ป่วยสามารถทานเสริมเป็นอาหารเสริมสำหรับผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย
“เซซามิน (SESAMIN)”
สามารถทานควบคู่กับการรักษาทางการแพทย์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและยังช่วยให้การรักษาได้ผลดีเร็วขึ้น การฟื้นตัวเร็วขึ้น เซลล์ผิดปกติตายเร็วขึ้น และยังเพิ่มกำลัง ฟื้นฟูร่างกาย และเพิ่มภูมิคุ้มกันได้ดี ลดผลข้างเคียง ไม่ว่าจะเป็นคีโม ฉายแสงหรือผ่าตัด
สิ่งที่คุณจะได้เมื่อทานอาหารเสริมเซซามิน
- ไม่ต้องเสี่ยงกับการรับสารเคมี
- หยุดการแพร่กระจายของเซลล์ผิดปกติ
- ป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำในระยะยาว
- ทานควบคู่กับการรักษาทางการแพทย์ได้
- สารอาหารทางเลือกจากธรรมชาติ
- มีงานวิจัยจากคณะแพทยศาสตร์ รองรับ
- มีกลไลการทำงานของสารสกัดเซซามินกับร่างกายชัดเจน
- ออร์แกนิค ไม่มีสารพิษ ปลอดภัย 100%
- จัดจำหน่ายต่อเนื่องมากว่า 12 ปี
- ใช้แล้วเห็นผล พึงพอใจ ไม่เป็นภาระครอบครัว
คลิกปุ่มด้านล่าง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญฟรี
มะเร็งปากมดลูกเกิดจากอะไร
จุดเริ่มต้นของมะเร็งปากมดลูกมากกว่า 90% มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า Human Papilloma Virus หรือเชื้อ HPV โดยไวรัสนี้ติดต่อผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์หรือสัมผัสโดยตรง ซึ่งเชื้อ HPV นี้มีหลายสายพันธุ์ ทั้งสายพันธุ์ชนิดรุนแรงที่ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูก และชนิดไม่รุนแรงที่อาจทำให้เกิดหูดหงอนไก่ และนอกจากนี้พบว่า 80% ของผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ มีโอกาสที่จะตรวจพบการติดเชื้อ HPV ครั้งหนึ่งในชีวิต แต่เมื่อติดเชื้อแล้ว 90% สามารถหายได้เองภายใน 2 ปี โดยขึ้นกับภูมิคุ้มกันของร่างกาย แต่หากไม่หายและทำให้เซลล์ปากมดลูกเปลี่ยนแปลงโดยไม่ตรวจติดตาม หรือรักษาต่อเนื่องก็มีโอกาสที่จะพัฒนาไปเป็นมะเร็งได้ในที่สุด
สัญญาณเตือนมะเร็งปากมดลูก
- เลือดออกผิดปกติจากช่องคลอด เช่น เลือดออกระหว่างรอบเดือน หรือหลังมีเพศสัมพันธ์
- ตกขาวผิดปกติ เช่น มีกลิ่นเหม็น สีผิดปกติ หรือมีเลือดปน
- ปวดเบ้ากระดูกเชิงกราน รู้สึกปวดหรือไม่สบายในบริเวณกระดูกเชิงกรานอย่างต่อเนื่อง
- ปัสสาวะผิดปกติ เช่น ปัสสาวะบ่อย ปวดเวลาอั้น หรือมีเลือดปนในปัสสาวะ
- หน้าท้องบวมโต เนื่องจากมะเร็งกลายเป็นเนื้องอกที่ใหญ่ขึ้น
- น้ำหนักลดอย่างรวดเร็วโดยไม่ทราบสาเหตุเนื่องจากร่างกายใช้พลังงานมากในการต่อสู้กับมะเร็ง
มะเร็งปากมดลูกมีกี่ระยะ
หลังได้รับเชื้อ HPV โดยปกติจะใช้เวลาประมาณ 10-15 ปี ในการพัฒนาตัวเองให้กลายเป็นมะเร็งปากมดลูก และในช่วงที่ได้รับเชื้อมาแล้วก็มักจะไม่มีอาการแสดงใดๆ ทำให้ไม่สามารถรู้ได้เลยว่ารับเชื้อมาตั้งแต่ตอนไหน แต่ทั้งนี้เราสามารถแบ่งระยะของมะเร็งปากมดลูกได้ดังนี้
- ระยะก่อนมะเร็ง
เป็นระยะที่เซลล์ปากมดลูกเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงผิดปกติ แต่ยังอยู่แค่บริเวณเยื่อบุผิวของปากมดลูก โดยเซลล์ผิดปกติจะแบ่งเป็น 3 ระดับตามความรุนแรง ซึ่งเป็นระยะที่แทบไม่มีอาการความผิดปกติใดๆ แต่จะสามารถตรวจพบได้ด้วยการตรวจคัดกรองทางเซลล์วิทยา (Pap Smear, Thin prep) หรือร่วมกับการตรวจหาเชื้อไวรัส HPV เท่านั้น ดังนั้น จึงแนะนำให้ผู้หญิงที่มีอายุ 25 ปีขึ้นไปหรือในผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์แล้ว เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอโดยไม่ต้องรอให้มีอาการ เพราะหากตรวจเจอความผิดปกติตั้งแต่เนิ่นๆ ในระยะนี้ยังสามารถรักษาหายขาดได้
- ระยะมะเร็งปากมดลูก โดยปกติจะถูกแบ่งออกเป็น 4+1 ระยะ
♦ มะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 เซลล์มะเร็งอยู่แค่ที่บริเวณปากมดลูก
♦ มะเร็งปากมดลูกระยะที่ 2 เซลล์มะเร็งเริ่มมีการลุกลามไปยังเนื้อเยื่อข้างปากมดลูก และหรือลุกลามไปยังผนังช่องคลอดส่วนบน
♦ มะเร็งปากมดลูกระยะที่ 3 เซลล์มะเร็งลุกลามไปยังด้านข้างของปากมดลูกจนถึงกระดูกเชิงกราน และหรือผนังช่องคลอดส่วนล่าง รวมถึงกระจายไปบริเวณต่อมน้ำเหลืองในอุ้งเชิงกราน หรือกดท่อไตจนเกิดภาวะไตบวมน้ำ
♦ มะเร็งปากมดลูกระยะที่ 4 เซลล์มะเร็งลุกลามอย่างรุนแรง ซึ่งสามารถพบได้ที่กระเพาะปัสสาวะ ไส้ตรง หรืออวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด กระดูกและต่อมน้ำเหลืองนอกเชิงกราน เป็นต้น
♦ มะเร็งปากมดลูกกำเริบ มะเร็งปากมดลูกกำเริบ หมายความว่า มะเร็งกลับมาเป็นซ้ำหลังจากได้รับการรักษาไปแล้ว หากกลับมาที่จุดเดิม เรียกว่าการกลับเป็นซ้ำเฉพาะที่ นอกจากนี้ยังสามารถเกิดซ้ำได้ในส่วนอื่นของร่างกาย สิ่งนี้เรียกว่าการแพร่กระจายระยะไกลหรือการกลับเป็นซ้ำระยะไกล
การรักษามะเร็งปากมดลูก
- การรักษามะเร็งปากมดลูก มีดังนี้
♦ 1.การผ่าตัด จะเลือกรักษาเมื่อผู้ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกระยะต้น คือระยะที่ 1 และผู้ป่วยอายุน้อยที่ไม่มีโรคประจำตัวซึ่งเป็นข้อห้ามของการผ่าตัด
♦2.การฉายแสงร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัด ทุกระยะสามารถให้การรักษาด้วยวิธีนี้ได้หมด แต่มักเลือกกรณีที่คิดว่าผู้ป่วยเป็นระยะที่ผ่าตัดไม่ได้ อายุมาก หรือมีข้อห้ามผ่าตัด
การผ่าตัดเพื่อรักษามะเร็งปากมดลูก เป็นหนึ่งในวิธีการรักษาหลัก โดยเฉพาะในระยะเริ่มต้นของโรค ซึ่งสามารถช่วยกำจัดมะเร็งที่ยังไม่แพร่กระจายไปยังบริเวณอื่น ๆ การเลือกวิธีการผ่าตัดขึ้นอยู่กับระยะของมะเร็ง สภาพร่างกายของผู้ป่วย และความต้องการในการมีบุตรในอนาคต การผ่าตัดหลักที่ใช้ในการรักษามะเร็งปากมดลูก ได้แก่
- 1. การผ่าตัดปากมดลูกบางส่วน
- เป็นการผ่าตัดเอาเนื้อเยื่อที่มีลักษณะคล้ายกรวยออกจากปากมดลูก รวมถึงบริเวณที่เป็นเซลล์มะเร็งหรือเซลล์ผิดปกติ
- ใช้ในกรณีที่มะเร็งยังอยู่ในระยะเริ่มต้น (ระยะก่อนเป็นมะเร็ง) และยังไม่ลุกลาม
- วิธีนี้ช่วยรักษาส่วนอื่นของมดลูกไว้ได้ ทำให้ผู้ป่วยยังสามารถมีบุตรได้หลังจากการรักษา
- 2. การตัดมดลูกแบบง่าย
- เป็นการผ่าตัดตัดมดลูกทั้งหมด รวมถึงปากมดลูกออกจากร่างกาย แต่ยังคงรักษาอวัยวะรอบ ๆ ไว้
- มักใช้ในกรณีที่มะเร็งอยู่ในระยะเริ่มต้นและยังไม่แพร่กระจาย
- ผู้ป่วยที่ผ่านการผ่าตัดนี้จะไม่สามารถมีบุตรได้เนื่องจากมดลูกถูกตัดออก
- 3. การตัดมดลูกแบบกว้าง
- เป็นการผ่าตัดตัดมดลูก ปากมดลูก เนื้อเยื่อรอบ ๆ และส่วนบนของช่องคลอด รวมถึงบางครั้งอาจตัดต่อมน้ำเหลืองในบริเวณเชิงกรานออกด้วย
- วิธีนี้ใช้ในการรักษามะเร็งปากมดลูกที่อยู่ในระยะ 1 หรือระยะ 2 ซึ่งมะเร็งเริ่มลุกลามไปยังเนื้อเยื่อรอบ ๆ
- เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการกำจัดมะเร็งที่แพร่กระจายออกจากปากมดลูก แต่ผู้ป่วยจะไม่สามารถมีบุตรได้หลังการผ่าตัด
- 4. การตัดปากมดลูกบางส่วน
- เป็นการตัดเฉพาะปากมดลูกและเนื้อเยื่อรอบ ๆ ออก โดยจะรักษามดลูกส่วนใหญ่ไว้ เพื่อให้ผู้ป่วยยังคงมีโอกาสตั้งครรภ์หลังการรักษา
- ใช้ในกรณีที่มะเร็งอยู่ในระยะเริ่มต้นและต้องการรักษาความสามารถในการมีบุตร
- 5. การผ่าตัดต่อมน้ำเหลืองในบริเวณเชิงกราน
- เป็นการผ่าตัดเพื่อตัดต่อมน้ำเหลืองในบริเวณเชิงกรานออก เพื่อดูว่ามะเร็งแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองหรือไม่
- มักใช้ร่วมกับการตัดมดลูกแบบกว้างในกรณีที่มะเร็งเริ่มลุกลาม
- 6. การผ่าตัดทางช่องท้องและทางช่องคลอด
- ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการผ่าตัด โดยผ่านช่องท้องหรือช่องคลอด ด้วยการใช้กล้องและเครื่องมือขนาดเล็ก ทำให้เกิดบาดแผลน้อย และผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็วกว่า
ผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการผ่าตัดมะเร็งปากมดลูก
- อาการปวดและบวม: บริเวณที่ผ่าตัดอาจเกิดอาการปวด บวม หรือชา
- ปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ: การผ่าตัดที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเยื่อรอบ ๆ เชิงกรานอาจส่งผลต่อการทำงานของกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
- ภาวะมีบุตรยาก: การผ่าตัดบางชนิดอาจทำให้ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้
- ช่องคลอดอาจมีการหดตัวหรือการยืดหยุ่นลดลง: ทำให้เกิดความเจ็บปวดหรือไม่สบายในระหว่างมีเพศสัมพันธ์
การฉายรังสีเพื่อรักษามะเร็งปากมดลูก เป็นหนึ่งในวิธีการรักษาที่ใช้รังสีความเข้มสูงเพื่อทำลายเซลล์มะเร็งในบริเวณปากมดลูก ซึ่งวิธีนี้มักใช้ทั้งในระยะเริ่มต้นและระยะที่มะเร็งแพร่กระจาย หรือใช้ร่วมกับการผ่าตัดและเคมีบำบัด ทั้งนี้มีการฉายรังสีอยู่ 2 รูปแบบหลัก
- 1. การฉายรังสีจากภายนอก
- เป็นการฉายรังสีจากเครื่องภายนอกไปยังบริเวณที่มีมะเร็งปากมดลูก โดยใช้เครื่องกำเนิดรังสีที่มุ่งเน้นไปที่เป้าหมายอย่างแม่นยำ
- วิธีนี้เหมาะกับการรักษามะเร็งในระยะเริ่มต้นและระยะที่แพร่กระจายไปยังบริเวณอื่น ๆ ในช่องเชิงกราน
- มักใช้ร่วมกับเคมีบำบัดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำลายเซลล์มะเร็ง
- 2. การฉายรังสีจากภายใน
- เป็นการใส่แหล่งรังสีขนาดเล็กเข้าไปในบริเวณปากมดลูกหรือใกล้เคียงโดยตรง วิธีนี้จะทำให้รังสีเข้าถึงเซลล์มะเร็งอย่างแม่นยำและจำกัดผลกระทบต่อเนื้อเยื่อปกติที่อยู่รอบ ๆ
- การฉายรังสีจากภายในมักใช้ควบคู่กับการฉายรังสีจากภายนอก โดยเป็นขั้นตอนสำคัญในการรักษามะเร็งปากมดลูกระยะเฉพาะที่หรือระยะลุกลาม
ผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการฉายรังสีเพื่อรักษามะเร็งปากมดลูก
- ผิวหนังระคายเคือง: ผิวหนังบริเวณที่ฉายรังสีอาจเกิดการแดงและระคายเคือง
- อ่อนเพลีย: ผู้ป่วยอาจรู้สึกอ่อนล้าหลังจากการฉายรังสีเป็นระยะเวลานาน
- ปัญหาในระบบขับถ่าย: การฉายรังสีในบริเวณเชิงกรานอาจทำให้เกิดท้องเสียหรือปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
- แผลในช่องคลอด: การฉายรังสีใกล้กับบริเวณปากมดลูกอาจทำให้เกิดแผลหรือเนื้อเยื่ออักเสบในช่องคลอด
- ผลกระทบระยะยาว: อาจทำให้เนื้อเยื่อในบริเวณที่ฉายรังสีเสียหาย หรือเกิดภาวะมีบุตรยาก
คีโมหรือยาเคมีบำบัด คือยาที่ออกฤทธิ์ต้านหรือทำลายเซลล์มะเร็ง โดยมีเป้าหมายสำคัญคือเซลล์มะเร็งที่แบ่งตัวเร็ว และต่อเนื่อง ยาจะไปออกฤทธิ์ยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง ทำให้เซลล์ไม่สามารถแบ่งตัวต่อไปได้และตายในที่สุด
ซึ่งการทำคีโมนั้นอาจมีผลต่อเซลล์ปกติของร่างกายที่มีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงในผู้ป่วยแต่ละคนได้ ซึ่งผลข้างเคียงนั้นจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับชนิดของสูตรยาคีโม ขนาดของยาที่ได้รับ และสภาวะของผู้ป่วยก่อนที่จะได้รับยานั้น ตัวอย่างอาการแพ้คีโม เช่น ผมร่วง เยื่อบุช่องปากอักเสบ เบื่ออาหาร ท้องเสีย อ่อนเพลีย ภาวะซีด และเม็ดเลือดต่ำกว่าปกติ เป็นต้น
ฉะนั้นในช่วงที่ทำคีโม หากมีอาการแพ้คีโมหนักมาก หรือภูมิคุ้มกันตก ผู้ป่วยมะเร็งก็จะให้คีโมต่อไม่ไหว การรักษามะเร็งก็จะไม่ต่อเนื่อง “เซซามิน”จึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง ในการดูแลร่างกายให้แข็งแรงเพื่อพร้อมรับคีโม ที่สำคัญนอกจากจะช่วยลดการแพ้คีโมแล้ว เซซามินยังช่วยยับยั้งเซลล์มะเร็งไม่ให้ลุกลามหรือแพร่กระจายไปเอาอวัยวะอื่นๆ ซึ่งการทานเซซามินนั้นสามารถทำควบคู่ไปกับการทำคีโมได้ และช่วยให้ร่างกายของผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็วขึ้นอีกด้วย
ผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการทำคีโมเพื่อรักษามะเร็งปากมดลูก
- 1. อ่อนเพลียและเหนื่อยล้า: เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ผู้ป่วยอาจรู้สึกอ่อนเพลียหรือไม่มีเรี่ยวแรง เนื่องจากการทำลายเซลล์เม็ดเลือดแดง ส่งผลให้ร่างกายขาดออกซิเจน
- 2. ผมร่วง: คีโมทำให้เซลล์รากผมถูกทำลายชั่วคราว ทำให้เกิดอาการผมร่วง ผมบาง หรือผมหยุดเจริญเติบโต อาการนี้เป็นชั่วคราวและผมมักจะงอกใหม่หลังจากหยุดการรักษา
- 3. คลื่นไส้และอาเจียน: ยาคีโมบางชนิดกระตุ้นระบบในสมองที่ควบคุมการอาเจียน ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน หรือเบื่ออาหาร
- 4. ระบบภูมิคุ้มกันลดลง: การทำคีโมจะทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ส่งผลให้ภูมิคุ้มกันลดลง ทำให้ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย และหากติดเชื้อจะหายช้า
- 5. โลหิตจาง: การทำลายเซลล์เม็ดเลือดแดงอาจทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเหนื่อยล้าและหายใจไม่เต็มที่
- 6. ปัญหาเกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร: ผู้ป่วยอาจมีอาการท้องผูกหรือท้องเสียจากผลกระทบของคีโมต่อเซลล์ในระบบทางเดินอาหาร
- 7. แผลในช่องปาก: การทำคีโมทำลายเซลล์เยื่อบุปาก ทำให้เกิดแผล เจ็บปาก แผลในลิ้นหรือเหงือก ซึ่งทำให้การรับประทานอาหารหรือการดื่มน้ำเป็นไปได้ยาก
- 8. ปัญหาเกี่ยวกับระบบประสาท: ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกชาหรือมีความรู้สึกเสียวซ่าในมือและเท้า อาการนี้เรียกว่า Peripheral Neuropathy ซึ่งเป็นผลจากคีโมที่ทำลายเส้นประสาท
- 9. การเปลี่ยนแปลงในการทำงานของไตและตับ: คีโมบางชนิดอาจส่งผลกระทบต่อตับและไต ทำให้การทำงานของอวัยวะเหล่านี้แย่ลง ผู้ป่วยจะต้องเข้ารับการตรวจเลือดเป็นประจำเพื่อตรวจสอบการทำงานของอวัยวะเหล่านี้
- 10. ผลข้างเคียงเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์: การทำคีโมอาจส่งผลกระทบต่อระบบสืบพันธุ์ เช่น การเปลี่ยนแปลงในรอบเดือน ภาวะมีบุตรยาก หรือภาวะวัยทองก่อนวัยในผู้หญิงที่อายุน้อย
- 11. การสูญเสียความอยากอาหาร: ผู้ป่วยอาจรู้สึกเบื่ออาหารหรือรับประทานอาหารได้น้อยลงเนื่องจากคลื่นไส้หรือแผลในปาก
- 12. ปัญหาทางจิตใจ: ผลกระทบจากการทำคีโมอาจทำให้ผู้ป่วยรู้สึกซึมเศร้า วิตกกังวล หรือเกิดความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและอาการที่เกิดขึ้นระหว่างการรักษา
ผู้ป่วยมะเร็ง ส่วนใหญ่ไม่ได้เสียชีวิตจากการเป็นมะเร็ง แต่เสียชีวิตจาก “กระบวนการรักษา“
คลิกปุ่มด้านล่าง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญฟรี
นอกจากมะเร็งปากมดลูกแล้ว ยังมีมะเร็งอีก 2 ชนิดที่ผู้หญิงเป็นกันมาก คือ มะเร็งรังไข่ และมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
มะเร็งรังไข่
มะเร็งรังไข่
มะเร็งรังไข่เป็นมะเร็งในอวัยวะสืบพันธุ์ของผู้หญิงที่พบบ่อยเป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็งปากมดลูก
มะเร็งรังไข่คือการมีเซลล์มะเร็งเจริญเติบโตในรังไข่ ซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญในผู้หญิงที่ทำหน้าที่ในการผลิตไข่และฮอร์โมนเพศหญิง
อาการของมะเร็งรังไข่
- 1.รู้สึกอึดอัดในช่องท้อง
- 2.เบื่ออาหาร รู้สึกอิ่มจนอึดอัดถึงแม้รับประทานอาหารอ่อนๆ อาหารไม่ย่อย ท้องอืดท้องเฟ้อ หรือปวดท้องคลื่นไส้ ท้องเสีย ท้องผูก หรือปัสสาวะบ่อย
- 3.น้ำหนักขึ้นหรือลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
- 4.มีเลือดออกผิดปกติจากช่องคลอด
- 5.คลำก้อนเนื้อได้ในท้องน้อย ปวดท้องน้อย
- 6.ในระยะท้ายๆ อาจมีน้ำในช่องท้องทำให้ท้องโตขึ้นกว่าเดิม ผอมแห้ง น้ำหนักลด
การรักษามะเร็งรังไข่
- การผ่าตัด เป็นการผ่าตัดเพื่อนำเอาก้อนมะเร็งและเนื้อเยื่อรอบๆ ออก หรืออาจรวมทั้งต่อมน้ำเหลืองในบริเวณใกล้เคียง
- การใช้เคมีบำบัดหรือคีโมเป็นการใช้ยาในการฆ่าเซลล์มะเร็ง เคมีบำบัดมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น การใช้ยาเม็ด ยาฉีดเข้าเส้นเลือดหรือผ่านสายเข้าในช่องท้อง
- การใช้รังสีรักษาหรือการฉายแสง (มีการใช้รักษาแต่น้อยในมะเร็งรังไข่) เป็นการใช้รังสีเพื่อฆ่าเซลล์มะเร็งและทำให้ก้อนมะเร็งมีขนาดเล็กลง การใช้รังสีอาจเป็นการฉายรังสีจากภายนอกร่างกายและฉายตรงเข้าสู่ร่างกาย
- การใช้ยามุ่งเป้าเป็นการรักษาโดยการใช้ยาหรือสารอื่นๆ ที่ออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจงต่อเซลล์มะเร็งและก่อให้เกิดอันตรายต่อเซลล์ปกติน้อยกว่ายาเคมีบำบัดหรือรังสีรักษา ใช้ในการรักษามะเร็งรังไข่ระยะลุกลาม
มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
ในประเทศไทย พบได้บ่อยเป็นอันดับ 3 ของมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี รองจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งรังไข่ โดยพบประมาณ 3 คนต่อ 100,000 คน
ในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศยุโรปบางประเทศ พบมะเร็งชนิดนี้เป็นอันดับ 1 ของมะเร็งอวัยวะสืบพันธ์สตรี
มะเร็งชนิดนี้มักพบในสตรีสูงอายุ โดยเฉพาะสตรีในวัยใกล้หมดระดูหรือหมดระดูแล้ว
มีข้อมูลสนับสนุนว่า มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกมีความสัมพันธ์อย่างยิ่งกับฮอร์โมนเพศหญิงที่เรียกว่า เอสโตรเจน เยื่อบุโพรงมดลูกที่ถูกกระตุ้นด้วยฮอร์โมนชนิดนี้เพียงอย่างเดียวเป็นเวลานาน ๆ จะเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งในที่สุด ดังนั้นปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งชนิดนี้ คือ การที่ฮอร์โมนเอสโตรเจนอยู่ในร่างกายเป็นจำนวนมาก และเป็นเวลานาน โดยอาจจะได้รับจากการรับประทานยาฮอร์โมนอย่างผิดวิธี หรือ บางภาวะของร่างกาย เช่น ภาวะอ้วน จะมีการสร้างฮอร์โมนชนิดนี้มากกว่าปกติ
อาการของมะเร็งรเยื่อบุโพรงมดลูก
- อาการที่พบได้บ่อยที่สุดในมะเร็งชนิดนี้คือ การมีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด โดยเฉพาะในผู้หญิงที่หมดประจำเดือนไปแล้วแต่ยังมีเลือดออกมาเป็นครั้งคราว หรือผู้หญิงที่ยังไม่หมดประจำเดือนที่มีเลือดออกผิดปกติในระหว่างรอบประจำเดือน
- อาการอื่นที่อาจพบร่วมได้ เช่น ปวดท้องน้อย คลำพบก้อนบริเวณท้องน้อย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลีย ปวดหลังหรือปวดขา เป็นต้น
การรักษามะเร็งมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
- 1. การผ่าตัด เป็นการรักษาเบื้องต้นและผลการผ่าตัดสามารถบอกระยะของโรคได้อย่างถูกต้อง โดยแพทย์จะทำการผ่าตัดมดลูกและปีกมดลูกทั้ง 2 ข้างเพื่อพิจารณาโอกาสที่มะเร็งจะมีการแพร่กระจายไปต่อมน้ำเหลือง หลังจากนั้นจะเลาะต่อมน้ำเหลืองบริเวณอุ้งเชิงกรานและในช่องท้องสำหรับผู้ป่วยบางรายที่มีความเสี่ยงดังกล่าว เมื่อทราบผลการตรวจแล้วแพทย์จะสามารถบอกระยะของโรคที่ถูกต้องรวมถึงวางแผนการรักษาต่อไปได้
- 2. รังสีรักษาหรือการฉายแสง ซึ่งประกอบด้วยการฉายรังสีและการฝังแร่ ถูกใช้เป็นการรักษาเสริมหลังจากผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดเพื่อลดโอกาสกลับมาเป็นซ้ำในผู้ป่วยบางรายที่มีความเสี่ยง การรักษาโดยวิธีนี้ใช้เวลาประมาณ 1 ถึง 2 เดือน และอาจมีผลข้างเคียงที่แตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละราย
- 3. เคมีบำบัดหรือคีโม แพทย์จะพิจารณาให้เคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกที่มีการแพร่กระจายหรือมีความเสี่ยงต่อการกลับเป็นซ้ำสูงเช่น ผู้ป่วยระยะที่ 4 หรือระยะที่ 3 บางราย การรักษาวิธีนี้ใช้เวลาประมาณ 3 ถึง 6 เดือน ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับเคมีบำบัดควบคู่ไปกับรังสีรักษา ผลข้างเคียงหรือการแพ้คีโมที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช่น คลื่นไส้หรืออาเจียน มือเท้าชาและผมร่วง
ซีสต์กับเนื้องอกต่างกันอย่างไร
ซีสต์ในมดลูก (Uterine cyst)
เป็นถุงน้ำเล็กๆ ที่เกิดขึ้นภายในหรือบนผนังมดลูก ซึ่งมักเกิดจากการเกิดซีสต์ในต่อมขนาดเล็กที่เรียกว่า "ต่อมปากมดลูก" (Nabothian cyst) หรือเกิดจากการเซลล์เติบโตผิดรูปแบบ
อาการของซีสต์ในมดลูก
- 1.ไม่มีอาการ ส่วนใหญ่ซีสต์มักไม่แสดงอาการและมักตรวจพบโดยบังเอิญในการตรวจสุขภาพประจำปีหรืออัลตราซาวด์
- 2.ปวดท้องน้อย รู้สึกปวดหรือไม่สบายบริเวณท้องน้อย
- 3.ประจำเดือนผิดปกติ ประจำเดือนมามากหรือน้อยกว่าปกติ หรือมีรอยต่อเนื่อง
- 4.ปวดระหว่างการมีเพศสัมพันธ์ อาจมีอาการเจ็บปวดระหว่างมีเพศสัมพันธ์
- 5.มีเลือดออกนอกรอบเดือน พบเลือดออกจากช่องคลอดที่ไม่เกี่ยวกับรอบเดือนปกติ
***ซีสต์ในมดลูกส่วนใหญ่มักไม่อันตรายและไม่แสดงอาการซีเรียส ส่วนมากสามารถหายเองได้โดยไม่ต้องรักษา หรือมีขนาดเล็กจนไม่ต้องผ่าตัดหรือทำหัตถการใดๆ แต่ควรให้แพทย์ตรวจเช็กเพื่อความมั่นใจ
ซีสต์ที่อาจต้องระวัง
- 1.ซีสต์ที่มีขนาดใหญ่ อาจต้องการการรักษาหรือการผ่าตัดหากส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตปกติ
- 2.ซีสต์ที่มีอาการปวด อาจต้องการการรักษาเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด
- 3.ซีสต์ที่มีการเจริญเติบโตเร็ว ต้องได้รับการตรวจสอบเพิ่มเติมเพื่อดูว่ามีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งหรือไม่
- 4.ซีสต์ที่ทำให้มีเลือดออกผิดปกติ
การป้องกันและการดูแล
– ตรวจสุขภาพประจำปี
– ทำอัลตราซาวด์เมื่อตรวจพบซีสต์
– ปรึกษาแพทย์เสมอหากมีอาการผิดปกติ
เนื้องอกในมดลูก (Uterine Fibroids)
ส่วนใหญ่จะเป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง (ชนิดไม่เป็นมะเร็ง) แต่ขนาดและตำแหน่งของเนื้องอกอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพได้ และในบางกรณีอาจมีความเสี่ยงที่จะเป็นเนื้อร้ายได้
เนื้องอกที่มักพบ
- - เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก (Fibroids) พบบ่อยขึ้นในผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดปัญหา แต่อาจมีอาการเช่น ปวดท้อง เลือดออกผิดปกติ หรือมีบุตรยาก
- - เนื้องอกต่อมน้ำเหลือง (Adenomyosis) เกิดจากการเจริญเติบโตของเยื่อบุโพรงมดลูกในเนื้อมดลูก อาจก่อให้เกิดปวดประจำเดือนอย่างรุนแรง เลือดออกมากในช่วงประจำเดือน
อาการที่อาจพบ
- ปวดท้องหรือปวดในช่องเชิงกราน
- เลือดออกผิดปกติหรือมีประจำเดือนมาก
- การคลำพบก้อนที่หน้าท้อง
- ปัสสาวะบ่อยหรือรู้สึกปวดเวลาปัสสาวะ
- การมีบุตรยาก
การรักษา
การรักษาจะขึ้นอยู่กับขนาด ตำแหน่ง และอาการของเนื้องอก รวมถึงพิจารณาความต้องการในการมีบุตรและอายุผู้ป่วย การรักษาอาจมีทั้งการใช้ยารักษา การทำหัตถการ หรือการผ่าตัด
การดูแลและป้องกัน
- ตรวจสุขภาพเป็นประจำ
- ปรึกษาแพทย์หากมีอาการผิดปกติ
- ดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายสม่ำเสมอและกินอาหารที่มีประโยชน์
คลิกปุ่มด้านล่าง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญฟรี
ผลงานวิจัยจากคณะแพทยศาสตร์
งานวิจัยที่จดสิทธิบัตรโลก
งานวิจัยนี้ถือว่าเป็นความสำเร็จอย่างมาก มีการนำสารสกัดเซซามินมาเป็นอาหารเสริม โดยไม่มีผลข้างเคียงและที่สำคัญดีต่อสุขภาพ ใช้ทานเสริมสำหรับผู้ป่วยหรือผู้ดูแลสุขภาพ
อาหารเสริมเซซามิน 1 แคปซูลประกอบด้วย
🟩สารเซซามิน ▶︎ เป็นสารบริสุทธิ์ที่พบได้ในงา มีสรรพคุณที่เป็นเลิศ ปัจจุบันนำมาใช้ดูแลสุขภาพกันอย่างแพร่หลาย
🟩รำข้าวสีนิล ▶︎ สารแอนโทไซยานินในรำข้าวสีนิล มีงานวิจัยพบว่ามีสารต้านอนุมูลอิสระมากกว่าตระกูลเบอร์รี่ถึง 3 เท่า
🟩แป้งข้าวหอมมะลิ ▶︎ แป้งข้าวหอมมะลิที่ผ่านกระบวนการพิเศษ ได้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจากแป้งปรุงพิเศษ ใช้สำหรับดูดซึมสารอาหารระดับเซลล์เพื่อสมดุลในร่างกาย (เป็นตัวนำพาให้สารเซซามินดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย)
❌ไม่มีส่วนผสมของน้ำมันงา❌
ผลลัพธ์ผู้ที่ทานอาหารเสริมเซซามิน
ก้อนเนื้อที่มดลูกเล็กลง
*ผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับร่างกายของแต่ละบุคคล*
ทำคีโมแล้วไม่แพ้
*ผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับร่างกายของแต่ละบุคคล*
ไม่พบจุดมะเร็ง ผลเลือดดี
*ผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับร่างกายของแต่ละบุคคล*
ไม่พบเชื้อมะเร็งแล้ว
*ผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับร่างกายของแต่ละบุคคล*
คลิกปุ่มด้านล่าง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญฟรี
- ท้าพิสูจน์เห็นผลชัดเจน
- การันตีสินค้าของแท้ 100% ไม่แท้คืนเงิน
- มีอาการแพ้ ไม่พึงพอใจยินดีคืนเงิน
***โปรโมชั่นพิเศษเฉพาะคุณเท่านั้น***
เซซามินสูตรเข้มข้น 20 เท่า
1 ขวด 60 แคปซูล ทานได้ 15 วันจากราคา 3,000 บาท
ลดเหลือ 2,550 บาท
Promotion 3 Free 1
(ชุดสุดคุ้ม)จากราคา 12,000 บาท
ลดเหลือ 7,600 บาท*
(โปรโมชั่นมีจำนวนจำกัด)
จัดส่งไวภายใน 2 วัน
รับประกันของแท้ 100%
กรุงเทพ , ปริมณฑล จัดส่งด่วนภายใน 3 ชม.
คลิกปุ่มด้านล่าง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญฟรี
Q&A
คำถามที่พบบ่อย
ไม่ป่วย สามารถทานเพื่อการป้องกันได้
เพราะ การดูแลสุขภาพที่ดีที่สุด คือ
ดูแลสุขภาพก่อนมีปัญหาสุขภาพ
เลือกทางเซซามินยี่ห้อที่มีเอกสารงานวิจัยรองรับ และสามารถอธิบายการทำงานของสารเซซามินกับร่างกายได้ ของอาจารย์ปรัชญา
โดยปกติแล้วเห็นผลช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับปัจจัยทางด้านสุขภาพของแต่ละบุคคล
1. อายุผู้ป่วย
2. ชนิดของอาการป่วย
3. โรคแทรกซ้อนอื่นๆ
4. ระยะเวลาที่เป็นโรคต่างๆ
5. การดูแลสุขภาพควบคู่การรักษา
โดยปกติแล้วทาน 1-2 เดือนจะเห็นผลชัดเจน
สารสกัดเซซามิน ไปกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง IL2
(สารตัวนี้เป็นตัวฆ่า เซลล์มะเร็งได้โดยทั่วโลกยอมรับ)
เซซามินจะไปกระตุ้นเซลล์เม็ดเลือดขาวหรือระบบภูมิคุ้มกันของเรา ให้ทำงานได้ดีขึ้นและไปจัดการเซลล์มะเร็ง
สารสกัดเซามินจัดอยู่ในกลุ่มสารอาหาร (Nutraceuticals) จึงไม่มีผลตกค้างในร่างกาย และสามารถทานได้ต่อเนื่องควบคู่กับการรักษาทางการแพทย์ได้